Ocean Acidification วิกฤติมหาสมุทรเป็นกรดมหันตภัยใหม่ของโลก

in #environment4 years ago
เราพึ่งจะได้เรียนรู้ เมื่อไม่นานมานี้ว่า นอกจากป่าไม้ที่จะช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว มหาสมุทรหรือท้องทะเลบนโลกก็มีส่วนในการช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกด้วยเช่นเดียวกัน โดยมหาสมุทรช่วยในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วนประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ของการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ตลอดระยะเวลา 200 ปี มนุษย์หรือพวกเราทั้งหมดทุกคนได้ทำกิจกรรมทุกอย่างที่ทำให้เกิดการปล่อยกาซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ สี่แสนล้านตัน และด้วยปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ออกมาเป็นจำนวนมากและส่วนเกินเหล่านั้น ทำให้มหาสมุทรของเรากลายเป็นกรด อันนี้ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ เป็นเรื่องใหญ่อีกเรื่องที่เริ่มมีนักอนุรักษ์นิยมเริ่มทำการเคลื่อนไหว

Source: Photo by The Momentum


มหาสมุทรหรือทะเล เป็นผืนน้ำขนาดใหญ่ที่ปกคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่บนโลก เปรียบเสมือนห้องครัวใหญ่ที่เลี้ยงทุกคนบนโลก แต่ในปัจจุบันมหาสมุทรของเรากำลังเจอภาวะที่ต้องเผชิญกับปัญหามลภาวะจากขยะพลาสติค แบบที่เราได้เห็นสัตว์ทะเลจำนวนมากจบชีวิตลงด้วยขยะพลาสติค แต่อีกประเด็นหนึ่งที่เลวร้ายไม่แพ้กันและเกิดขึ้นอย่างช้า โดยมีเหยื่อรายแรกของวิกฤติหมาสมุทรเป็นกรด Ocean Acidification นี้คือบรรดาแพลงตอนในทะเล


เหยื่อของวิกฤติมหาสมุทรเป็นกรด คือ หอย กุ้ง ปู สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลาดาว ปะการัง ความเป็นกรดของมหาสมุทรนั้นยังนพพาอันตรายที่เราคาดไม่ถึง เช่นการรบกวนประสารทการได้กลิ่นของสัตว์น้ำ และเพิ่มความสามารถในการส่งคลื่นใต้น้ำทำให้ใต้น้ำมีเสียงรบกวนมากยิ่งขึ้น รายงานล่าสุดจากนักวิชาการได้รายงานว่า กาวะความเป็นกรดในมหาสมุทรขัดขวางการเจริญเติบโตของปะการัง ทำให้กิ่งปะการังมีความน่าแน่นต่ำและเปราะบางแตกหักง่าย โดยทีมวิจัยได้รายงานเพิ่มว่าปะการังที่อาศัยในทะเลแถบอินโดนีเซียและแปซิฟิค มีแนวโน้มที่จะได้รับผลหระทบอย่างรุนแรง และอาจจะมีจำนวนปะการังในบริเวณนี้ลดลงจำนวน 40 เปอร์เซ็นต์


ส่วนใครที่อยากรู้เรืองนี้เพิ่มเติม สามารถค้นหาข้อมูลได้โดยค้นหาด้วยคำว่า Ocean Acidification

Steem: www.steemit.com/@andyjim


Sort:  

Ocean acidification is sometimes called “climate change’s equally evil twin,” and for good reason: it's a significant and harmful consequence of excess carbon dioxide in the atmosphere that we don't see or feel because its effects are happening underwater. At least one-quarter of the carbon dioxide (CO2) released by burning coal, oil and gas doesn't stay in the air, but instead dissolves into the ocean. Since the beginning of the industrial era, the ocean has absorbed some 525 billion tons of CO2 from the atmosphere, presently around 22 million tons per day.

At first, scientists thought that this might be a good thing because it leaves less carbon dioxide in the air to warm the planet. But in the past decade, they’ve realized that this slowed warming has come at the cost of changing the ocean’s chemistry. When carbon dioxide dissolves in seawater, the water becomes more acidic and the ocean’s pH (a measure of how acidic or basic the ocean is) drops. Even though the ocean is immense, enough carbon dioxide can have a major impact. In the past 200 years alone, ocean water has become 30 percent more acidic—faster than any known change in ocean chemistry in the last 50 million years.

Coin Marketplace

STEEM 0.20
TRX 0.15
JST 0.029
BTC 65292.16
ETH 2651.21
USDT 1.00
SBD 2.85